หัวข้อวิจัยการเงิน
เทคนิค การเลือกชื่อเรื่อง หัวข้อวิจัยการเงิน
การเลือก หัวข้อวิจัยการเงิน ชื่อเรื่องวิจัย สาขาการเงิน ครอบคลุมบริหารธุรกิจการเงิน (MBA Finance) วิศวกรรมการเงิน (Financial Engineering) วิทยาศาสตร์การเงิน (Master of Science (Finance)) และ เศรษฐศาสตร์การเงิน (Financial Economics) อาศัยพื้นฐานองค์ความรู้พื้นฐานที่สำคัญทางด้านการเงินเช่นเดียวกัน เช่น การเงินธุรกิจ (Corporate Finance) ทฤษฎีการลงทุน (Investing Theories) การวิเคราะห์งบการเงิน ารบริหารความเสี่ยง หลักทรัพย์ ตราสารทุน ตราสารหนี้ พันธบัตร คำหลักต่างๆ เหล่นี้ล้วนแล้วแต่เป็นเนื้อหาที่นักวิจัย นักศึกษาปริญญาโท ปริญญาเอก ที่กำลังศึกษาในสาขาการเงิน นำมาใช้กำหนดเป็นชื่อเรื่อง หรือหัวข้อวิจัยทางการเงิน ฯลฯ ควบคู่กับความรู้ความเข้าใจทางด้านเศรษฐมิติ (Econometrics) เพื่อทำการวิเคราะห์ความสัมพันธ์หรืออิทธิพลของตัวแปรต่างๆที่มีต่อกัน

การเงินเป็นกิจกรรมการจัดการที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการได้มาซึ่งเงินทุน และแลกเปลี่ยนทรัพยากรที่มีอยู่ เช่น เงิน สินทรัพย์ การลงทุน หลักทรัพย์ ฯลฯ การเงินไม่ได้จำกัดอยู่ที่เพียงการแลกเปลี่ยนหรือการจัดการเงิน มันมีอะไรมากกว่านั้น ดังนั้นสำหรับผู้เรียนปีสุดท้ายที่ต้องทำวิทยานิพนธ์ส่งอาจารย์ หัวข้อวิทยานิพนธ์เป็นปัจจัยสำคัญในการตัดสินว่าวิทยานิพนธ์ของคุณน่าสนใจหรือไม่ การเลือกหัวข้อที่ดีย่อมมีชัยไปกว่าครึ่ง การเงินแบ่งออกเป็น 3 ส่วนหลัก การเงินส่วนบุคคล องค์กร และสาธารณะ ปัจจัยทั้งหมดเหล่านี้เป็นส่วนที่จำเป็นของการเงินและสามารถจำแนกได้เป็นหมวดหมู่ย่อยต่างๆ การเงินมีการแบ่งเป็นภาคย่อยๆมากมาย
การเลือก หัวข้อวิจัยการเงิน จากตัวอย่างหัวข้อที่น่าสนใจเหล่านี้ นักวิจัย นิสิต นักศึกษา ระดับปริญญาโท ปริญญาเอก สามารถเลือกใช้เป็นแนวทางได้ ทั้งในหลักสูตร บริหารธุรกิจ(การเงิน) เศรษฐศาสตร์ (การเงิน) วิทยาศาสตร์การเงิน วิศวกรรมการเงิน และหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับการเงิน ทุกระดับ อย่างไรก็ตาม ควรมีการเตรียมความพร้อม หรือสำรวจทักษะ ความสามารถของผู้ทำวิจัย ว่าสามารถที่จะทำวิจัยการเงินในเรื่อง หรือหัวข้อวิจัยการเงินเหล่านั้นหรือไม่ ทั้งนี้เพราะชื่อเรื่องหรือหัวข้อจะเกี่ยวข้องกับตัวแปร รวมถึงวิธีการทางสถิติหรือเศรษฐมิติด้วย ซึ่งจะมีความยากง่าย สลับซับซ้อนแตกต่างกัน
ตัวอย่างหัวข้อวิจัยการเงิน
- การส่งผ่านความผันผวน (Volatility) ของดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์ที่สำคัญในตลาดโลกมายังประเทศไทย
- การวิเคราะห์ความเสี่ยง อัตราผลตอบแทนของหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SET) ก่อนและหลังวิกฤติการณ์โควิด19
- โครงสร้างเงินทุน ความกดดันทางการเงิน และการควบคุมภายในที่ส่งผลต่อการตกแต่งกำไร กรณีศึกษา บริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SET)
- การศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลประกอบการที่ยั่งยืน (Sustainable Performance) ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SET)
- Features of insurance of the property of enterprises and organizations.
- State Health Insurance.
- Taxation of economic entities in the United States.
- Tax policy and its impact on the economy.
- The role of taxes in a market economy and their improvement in modern conditions.
- The financial market and its improvement.
- The stock market and its importance in the US.
- State credit: necessity, substance, form.
- Public debt and its impact on the country’s economic development.
- The main directions of financial development of the U.S. economy.
- Financial insolvency (bankruptcy) and its performance.
- Structure of public finances.
- Impact of the cash nexus on market development.
- Core functions of finance.
- Government revenues and expenditure.
- Evolution of the cash nexus in the course of the development of monetary relations.
- Organization of money relations control in a market economy.
- Money relations management in the banking sector
อ้างอิง

Tags : รับปรึกษางานวิจัย รับติวงานวิจัย รับสอนงานวิจัย รับทำวิจัย รับทำงานวิจัย รับทำสารนิพนธ์ รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำดุษฎีนิพนธ์ รับจ้างทําวิจัย รับจ้างทำสารนิพนธ์ รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ รับจ้างทำดุษฎีนิพนธ์ รับทำ thesis รับทำสารนิพนธ์ราคาถูก
รับทำวิทยานิพนธ์ราคาถูก รับทำดุษฎีนิพนธ์ราคาถูก รับทำวิจัย ป.โท รับทำวิจัย ป.เอก รับทำวิจัย ราคา รับทำวิจัยth รับทำสารนิพนธ์th
รับทำวิทยานิพนธ์th รับทำดุษฎีนิพนธ์th การทำ is จ้างทำ is จ้างทำวิจัย จ้างทำสารนิพนธ์ จ้างทำวิทยานิพนธ์ จ้างทำงานวิจัย จ้างทำวิจัยราคา จ้างทำวิจัยราคาประหยัด จ้างทำวิจัยราคาเท่าไหร่ ทำวิจัย ทำสารนิพนธ์ ทำวิทยานิพนธ์
ทำดุษฎีนิพนธ์ ทำปริญญานิพนธ์ ทำผลงาน ทำผลงานปรับระดับ ทำผลงานปรับตำแหน่ง การทำผลงานเลื่อนวิทยฐาน